วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2555

มงคล38 ประการ

 มงคลที่ 1.ไม่คบคนพาล
อย่าคบมิตร ที่พาล สันดานชั่ว
จะพาตัว เน่าดิบ จนฉิบหาย
แม้ความคิด ชั่วช้า อย่ากล้ำกราย
เป็นมิตรร้าย ภายใน ทุกข์ใจครัน
มงคลที่ 2.การคบบัณฑิต
ควรคบหา บัณฑิต เป็นมิตรไว้
จะช่วยให้ พ้นทุกข์ สบสุขสันต์
ความคิดดี เลิศล้ำ ยิ่งสำคัญ
ควรคบกัน อย่าเขว ทุกเวลา
มงคลที่ 3.การบูชาบุคคลที่ควรบูชา
ควรบูชา ไตรรัตน์ ขัตติเยศร์
ผู้วิเศษ ก่อเกื้อ เหนือเกศา
ครูอาจารย์ เจดีย์ ที่สักการ์
ด้วยบุปผา ปฏิบัติ สวัสดิ์การ
มงคลที่ 4.การอยู่ในถิ่นอันสมควร
เป็นเมืองกรุง ทุ่งนา หรือป่าใหญ่
ทางมา-ไป ครบครัน ธัญญาหาร
มีคนดี ที่ศึกษา พยาบาล
ปลอดภัยพาล ควรอยู่กิน ถิ่นนั้นแล
มงคลที่ 5.เคยทำบุญมาก่อน
กุศลบุญ คุณล้ำ เคยทำไว้
จะส่งให้ สวยเด่น เช่นดวงแข
ทั้งทรัพย์ยศ ไมตรี มีเย็นแด
เพราะกระแส บุญเลิศ ประเสริฐนัก
มงคลที่ 6 การตั้งตนชอบ
ต้องตั้งตน กายใจ ในทางถูก
เร่งฝังปลูก ตนไว้ ให้ถูกหลัก
เมื่อตัวตน ยังมี เป็นที่รัก
ควรพิทักษ์ ให้งาม ตามเวลา
มงคลที่ 7 ความเป็นพหูสูต
การสนใจ ใฝ่คว้า หาความรู้
ให้เป็นผู้ แก่เรียน เพียรศึกษา
มีศีลดี สติมั่น เกิดปัญญา
ย่อมนำพา ตัวรอด เป็นยอดดี
มงคลที่ 8 การรอบรู้ในศิลปะ
ศิลปะ ต่างอย่าง ทางอาชีพ
ควรเร่งรีบ เรียนรู้ ชูศักดิ์ศรี
มีบางคน จนอับ กลับมั่งมี
ฉลาดดี มีศิลป์ หากินพอ
มงคลที่ 9 มีวินัยที่ดี
อันวินัย นำระเบียบ สู่เรียบร้อย
คนใหญ่น้อย เปรมปรีดิ์ ดีนักหนา
วินัยสร้าง กระจ่างข้อ ก่อศรัทธา
เพราะรักษา กติกา พาร่วมมือ

ไม่พูดเท็จ พูดสอดเสียด และพูดมาก
ละความยาก สร้างวิบาก ฝากยึดถือ
คนหมู่มาก มักถางถาก ปากข่าวลือ
ต้องสัตย์ซื่อ ถือวินัย ใช้ร่วมกัน
มงคลที่ 10 กล่าววาจาอันเป็นสุภาษิต
เปล่งวจี สัจจะ นวลละม่อม
กล่าวเลลี้ยกล่อม ไพเราะ กาลเหมาะสม
เจือประโยชน์ เมตตา ค่านิยม
รื่นอารมณ์ ผู้ฟัง ดังเสียงทอง
มงคลที่ 11 การบำรุงบิดามารดา
คนที่หา ได้ยาก มากไฉน
เพราะว่าใน โลกนี้ มีเพียงสอง
คือพ่อแม่ เกิดเกล้า เหล่าลูกต้อง
ตอบสนอง พระคุณ ได้บุญแรง
มงคลที่ 12 การสงเคราะห์บุตร
เป็นมารดา บิดา ทำหน้าที่
ให้บุตรมี พำนัก เป็นหลักแหล่ง
ส่งเสริมบุตร ธิดาตน กุศลแรง
ย่อมส่องแสง เพิ่มพูน ตระกูลวงศ
มงคลที่ 13.การสงเคราะห์ภรรยา
มีคู่ครอง ต้องไม่ทำ ให้ช้ำจิต
จะพาผิด ไปข้าง ทงผุยผง
ต้องสงเคราะห์ แก่กัน ให้มั่นคง
รักยืนยง ด้วยกัน ถึงวันตาย
มงคลที่ 14.ทำงานไม่คั่งค้าง
ะทำงาน การใด ตั้งใจมั่น
อย่าผัดวัน ทำเล่น เช้า เย็น สาย
ไม่ทิ้งคา อากูล มากมูลมาย
เร่งคลี่คลาย ให้เสร็จ สำเร็จการ
มงคลที่ 15.การให้ทาน
ควรบำเพ็ญ ซึ่งทาน คือการให้
ท่านว่าไว้ สวยงาม สามสถาน
หนึ่งให้ของ สองธรรมะ ขนะมาร
อภัยทาน ที่สาม งามเหลือเกิน
มงคลที่ 16.การประพฤติธรรม
การประพฤติ ตามธรรม คำพระสอน
ไม่เดือดร้อน ถอนทุกข์ ยามฉุกเฉิน
คนรักธรรม ธรรมรักษ์คน ผลเจริญ
นั่ง,ยืน,เดิน นอน,สุข ทุกข์ไม่มี
มงคลที่ 17.การสงเคราะห์ญาติ
เมื่อยามญาติ อัตคัด เกินขัดข้อง
ควรหาช่อง สงเคราะห์ ไม่เลาะหนี
เขาซาบซึ้ง ถึงคุณ อบอุ่นดี
หากถึงที เราจน ญาติสนใจ
มงคลที่ 18 ทำงานไม่มีโทษ
งานรับจ้าง ล้างชาม ก็ตามเถิด
หากไม่เกิด โทษทัณฑ์ นั่นสดใส
เมื่อได้ช่อง ต้องจำ กระทำไป
ได้กำไร ทุกทาง ไม่ว่างงาน
มงคลที่ 19 ละเว้นจากบาป
กรรมชั่วช้า ลามก ต้องยกเว้น
หากขืนเล่น ด้วยกัน ถูกมันผลาญ
งดเว้นบาป กำราบให้ ไกลสันดาน
ในดวงมาลย์ ไม่ร้อน และอ่อนเพลีย
มงคลที่ 20 สำรวมจากการดื่มน้ำเม
ของมึนเมา ทุกชนิด พิษคล้ายเหล้า
ใครเสพเข้า น่าตำหนิ สติเสีย
เกิดโรคร้าย แรงร้อน กายอ่อนเพลีย
ใครงดเสีย เป็นสุข ไปทุกวัน
มงคลที่ 21 ไม่ประมาทในธรรมทั้งหลายไม่ประมาท คือมี สติพร้อม
คอยหน่วงน้อม ธรรมคุณ ไม่ผลุนผลัน
ธรรมอันใด ไม่ดี หลีกหนีพลัน
ธรรมดีนั้น ยึดแน่น ไม่แคลนคลอน
มงคลที่ 22 มีความเคารพ
ความเคารพ นับถือ คือเสน่ห์
ไม่โลเล เหมือนลิง วิ่งหลอกหลอน
ทั้งต่อหน้า ลับหลัง พึงสังวร
ย่อมงามงอน สวยสง่า ราคาแพง
มงคลที่ 23 มีความถ่อมตน
ไม่พองลม ก้มหัว เจียมตัวด้วย
มรรยาทสวย นิ่มนวล สิ้นส่วนแข็ง
เหมือนงูพิษ ถอดเขี้ยว หมดเรี่ยวแรง
ยามแถลง นอบน้อม พร้อมใจกาย
มงคลที่ 24 มีความสันโดษ
ความสันโดษ พอใจ ในสิ่งของ
เช่นเงินทอง ของตน แม้ล้นหลาย
เมื่อมีน้อย จ่ายน้อย ค่อยสบาย
ความจนหาย เลยลับ กลับมั่งมี
มงคลที่ 25 มีความกตัญญูกตัญญู รู้บุญ คุณพ่อแม่
คนเฒ่าแก่ แลอาจารย์ ท่านทรงศีล
จอมมุนินทร์ ปิ่นเกล้า เจ้าธานี
หาวิธี แทนคุณ สมดุลกัน
มงคลที่ 26 การฟังธรรมตามกาล
การฟังธรรม ตามกาล ผ่านมาถึง
ควรคำนึง นิ่งนั่ง ฟังขยัน
ย่อมจะเกิด ปัญญา สารพัน
ตั้งใจมั่น ฟังดี นี่สมควร
มงคลที่ 27 มีความอดทน
ความอดทน ตรากตรำ ยามลำบาก
เจ็บไข้มาก ทนได้ ไม่โหยหวน
ถูกเขาด่า ให้ฟัง นั่งหน้านวล
ยิ้มเสสรวล ด้วยขันติ งามวิไล
มงคลที่ 28 เป็นผู้ว่าง่าย
ควรเป็นคน สอนง่าย ไม่ตายด้าน
ก่อรำคาญ ค่ำเช้า ไม่เข้าไหน
ไม่ซัดโทษ ของตน ให้คนใด
เมื่อมีใคร สอนพร่ำ ให้นำมา
มงคลที่ 29 การได้เห็นสมณะ
การพบเห็น สมณะ ผู้สงบ
แล้วนอบนบ ถามไถ่ ไตรสิกขา
หมั่นฝึกหัด ทุกวัน ด้วยปัญญา
ย่อมชักพา จิตตรง มงคลมี
มงคลที่ 30 การสนทนาธรรมตามกาล
ยามหดหู่ ฟุ้งซ่าน กาลสงสัย
เป็นสมัย ไต่ถาม ตามเหตุผล
เพื่อบรรเทา คลี่คลาย หายกังวล
ควรจะสน- ทนาธรรม ตามที่ควร
มงคลที่ 31 การบำเพ็ญตบะ
พึงบำเพ็ญ ตบะ ละกิเลส
อันเป็นเหตุ หักห้าม กามฉันท์
มุ่งทำลาย ถ่ายบาป สาบสูญพันธุ์
เข้าสู่ขั้น สุโข ฌาณโกลีย์
มงคลที่ 32 การประพฤติพรหมจรรย์เร่งประพฤติ พรหมจรรย์ อันประเสริฐ์
เพื่อให้เกิด สุขล้วน โดยถ้วนถี่
ตั้งแต่ทาน ถึงสิกขา บรรดามี
สมบูรณ์ดี พรหมจรรย์ ย่อมมั่นคล
มงคลที่ 33 การเห็นอริยสัจการรู้เห็น ความจริง สิ่งเที่ยงแท้
ไม่ผันแปร สี่ชนิด ไม่ผิดหลง
ตัดตัณหา มูลราก พรากทุกข์ลง
เป็นการส่ง ข้ามฟาก จากสาคร
มงคลที่ 34 การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน
ทำให้แจ้ง นิพพาน ผลาญสังโยชน์
ตรวจตราโทษ ธาตุ ขันธ์ หมั่นฝึกถอน
เอาอรหัต มรรคญาณ เผาราญรอน
ดับทุกข์ร้อน นิพพาน สำราญนัก
มงคลที่ 35 การมีจิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม
ท่านผู้ใด ใจดำรง อยู่คงที่
ในเมื่อมี โลกธรรม ครอบงำหนัก
เช่น ลาภ ยศ สุข เศร้า เข้าง้างชัก
มิอาจยัก โยกท่าน ให้หวั่นใจ
มงคลที่ 36 การมีจิตไม่โศกเศร้า
คราวพลักพราก จากญาติ ขาดชีวิต
ถูกพิชิต จองจำ ทำโทษใหญ่
มีสติ คุมจิต เป็นนิตย์ไป
ไม่เสียใจ โศกเศร้า เฝ้าประคอง
มงคลที่ 37 มีจิตปราศจากกิเลส
หมดราคะ โทสะ โมหะแล้ว
จิตผ่องแผ้ว เลิศดี ไม่มีสอง
ย่อมมีค่า สูงจริง ยิ่งเงินทอง
เหมือนสูริย์ส่อง ท้องฟ้า สง่างาม
มงคลที่ 38 มีจิตเกษมจิตเกษม เปรมปรีดิ์ ดีตลอด
เป็นจิตปลอด จากโอฆ ในโลกสาม
เครื่องผูกมัด สลัดหมด แสนงดงาม
เข้าถึงความ สุขสันต์ นิรันดร

วันพฤหัสบดีที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

โดนัลด์ ดั๊ก

โดนัลด์ ดั๊ก (อังกฤษ: Donald Duck) เป็นตัวละครการ์ตูนจากบริษัท วอลต์ ดิสนีย์ โดนัลด์ ดั๊กเป็นเป็ดที่มีท่าทางเหมือนมนุษย์ ตัวสีขาวมีปาก ขาและเท้า สีเหลือง-ส้ม มักจะสวมชุดกะลาสี หมวกแค็ป และโบว์สีแดงหรือดำ แต่ไม่ใส่กางเกง (ยกเว้นถ้าไปว่ายน้ำ) โดนัลด์ ดั๊กเป็นเป็ดจอมโวย มีนิสัยขี้โมโหฉุนเฉียว
ข้อมูลจากดิสนีย์ โดยเฉพาะจากหนังสั้นเรื่อง Donald Gets Drafted ในปี 1942 โดนัลด์ ดั๊กมีชื่อเต็มว่า Donald Fauntleroy Duck วันเกิดอย่างเป็นทางการคือ 9 มิถุนายน ค.ศ. 1934 [1] ซึ่งคือวันที่เปิดตัวภาพยนตร์ The Wise Little Hen แต่อย่างไรก็ตามใน The Three Caballeros (1944) ได้บอกว่าสั้น ๆ ว่าวันเกิดของเขาคือ "วันศุกร์ 13" ส่วนในตอน Donald's Happy Birthday ได้บอกวันเกิดไว้ว่าคือวันที่ 13 มีนาคม[2] โดนัลด์ ดั๊ก เป็นที่รู้จักและโด่งดังในประเทศแถบสแกนดิเนเวีย
เสียงของโดนัลด์ เป็นหนึ่งในเสียงที่มีเอกลักษณ์ที่สุดเสียงหนึ่งในแอนิเมชัน ให้เสียงโดย แคลเรนซ์ "ดักกี้" แนช จนถึงปี 1985 โดนัลด์ ดั๊ก ปรากฏตัวในภาพยนตร์มาแล้ว 18 เรื่อง การ์ตูนสั้น 150 เรื่อง ซีรีส์ทางโทรทัศน์ 8 เรื่อง และยังเป็นตัวการ์ตูนในวิดีโอเกมอีก 21 ชุด

วัดประจำรัชกาล

  วัดประจำรัชกาล
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
พระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร
วัดประจำรัชกาลที่ ๑
วัดอรุณราชวราราม
พระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร
วัดประจำรัชกาลที่ ๒
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดราชโอรสาราม
พระอารามหลวง ชั้นเอก
วัดประจำรัชกาลที่ ๓
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดราชประดิษฐ์สถิตมหาสีมาราม
พระอารามหลวง ชั้นเอก
วัดประจำรัชกาลที่ ๔
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม
พระอารามหลวง ชั้นเอก
วัดประจำรัชกาลที่ ๕
 

R e m a r k . . .

ถึงสมัยรัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว มิได้ทรงมีวัดประจำรัชกาล โดยมีพระราชดำริว่า พระอารามหลวงมีอยู่มากเกินที่จะรักษาให้ดีได้ เห็นควรบูรณะทั้งในพระนคร และหัวเมืองที่ชำรุดทรุดโทรมให้ดีขึ้น
นอกจากนั้นยังทรงเห็นว่า สถานศึกษาเป็นสิ่งจำเป็น ควรเปลี่ยนประเพณีสร้างวัดเป็นสร้างโรงเรียนแทน
วัดประจำรัชกาล สุดยอดวัดงามแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ : วาไรตี้ท่องเที่ยว ผู้จัดการ Online
    กรุงเทพมหานคร
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม
วัดพระแก้วมรกต
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์
พระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดพระศรีมหาธาตุ
พระอารามหลวง ชั้นเอก
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดสุทัศนเทพวราราม
พระอารามหลวง ชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม
พระอารามหลวง ชั้นเอก
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดบวรนิเวศวิหาร
พระอารามหลวง ชั้นเอก
ที่ประทับสมเด็จพระสังฆราช
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดจักรวรรดิราชาวาส
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดดุสิดาราม
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดเทพธิดาราม
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดเทพศิรินทราวาส
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดประยุรวงศาวาส
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดชนะสงคราม
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดพิชยญาติการาม
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดมกุฎกษัตริยาราม
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดระฆังโฆสิตาราม
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดราชนัดดาราม
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดราชสิทธาราม
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดราชาธิวาส
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดสระเกศ
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดสุวรรณาราม
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดโสมนัสวิหาร
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดอนงคาราม
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดยานนาวา
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดบุปผาราม
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดปทุมวนาราม
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดชิโนรสาราม
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดราชผาติการาม
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดบรมนิวาส
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดอินทรวิหาร
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก
วัดตามแนวพระราชดำริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดปากน้ำ
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดยางสุทธาราม
บางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดเสมียนนารี
วัดพัฒนาตัวอย่าง ปี ๒๕๓๑
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดนาคปรก
พระปางนาคปรก
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดสัมพันธวงศาราม
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดไตรมิตรวิทยาราม
พระอารามหลวง ชั้นโท
หลวงพ่อทองคำสุโขทัยไตรมิตร
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดบพิตรพิมุขวรวิหาร
พระอารามหลวง ชั้นโท
เจ้าคณะภาค ๓
 
    ภาคกลาง
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
พุทธมณฑล
อ.พุทธมณฑล จ.นครปฐม
ศูนย์กลางพระพุทธศาสนาโลก
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดอโศการาม
จ.สมุทรปราการ
พระอาจารย์ลี ธมฺมธโร
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดญาณเวศกวัน
อ.สามพราน จ.นครปฐม
พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ. ปยุตฺโต)
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดพระปฐมเจดีย์
จ.นครปฐม
พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร
วัดพระพุทธบาท
จ.สระบุรี
พระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรมหาวิหาร
คลิ๊กอ่าน ข้อมูลวัด
วัดเสนาสนาราม
จ.พระนครศรีอยุธยา
พระอารามหลวง ชั้นเอก
คลิ๊กอ่าน ข้อมูลวัด
วัดสุวรรณดาราราม
จ.พระนครศรีอยุธยา
พระอารามหลวง ชั้นเอก
คลิ๊กอ่าน ข้อมูลวัด
วัดนิเวศธรรมประวัติ
จ.พระนครศรีอยุธยา
พระอารามหลวง ชั้นเอก
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดพนัญเชิง
จ.พระนครศรีอยุธยา
พระอารามหลวงชั้นโท
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดปรมัยยิกาวาส
จ.นนทบุรี
พระอารามหลวง ชั้นโท
วัดโสธรวราราม
จ.ฉะเชิงเทรา
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดพระนอนจักรสีห์
จ.สิงห์บุรี
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดหน้าพระเมรุราชิการาม
จ.พระนครศรีอยุธยา
พระอารามหลวงชั้นตรี
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดพิกุลทอง
จ.สิงห์บุรี
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดโบสถ์์
จ.สิงห์บุรี
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วิหารพระมงคลบพิตร
จ.พระนครศรีอยุธยา
พระมงคลบพิตร
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดมเหยงคณ์
จ.พระนครศรีอยุธยา
สำนักวิปัสสนา บวชเนกขัมม
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดปัญญานันทาราม
จ.ปทุมธานี
ศูนย์พัฒนาจิตเฉลิมพระเกียรต์ จังหวัดปทุมธาน
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดบัวงาม
จ.ราชบุรี
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดมหาธาตุ วรวิหาร
จ.ราชบุรี
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดปากคลองมะขามเฒ่า
จ.ชัยนาท
หลวงปู่ศุข
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดสวนแก้ว
จ.นนทบุรี
พระพยอม กัลยาโณ
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดไชโยวรวิหาร
จ.อ่างทอง
พระมหาพุทธพิมพ์
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดป้อมวิเชียรโชติการาม
จ.สมุทรสาคร
วัดเก่าแก่สมัยอยุธยา
    ภาคเหนือ
คลิ๊กอ่าน ข้อมูลวัด
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ
จ.พิษณุโลก
พระอารามหลวง ชั้นเอก
คลิ๊กอ่าน ข้อมูลวัด
วัดพระสิงห์
จ.เชียงใหม่
พระอารามหลวง ชั้นเอก
รายละเอียด
วัดพระธาตุหริภุญไชย
จ.ลำพูน
พระอารามหลวง ชั้นเอก
คลิ๊กอ่าน ข้อมูลวัด
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ
จ.สุโขทัย
พระอารามหลวง ชั้นเอก
วัดพระธาตุดอยสุเทพ
วัดพระธาตุดอยสุเทพ
อ.เมือง จ.เชียงใหม่
พระอารามหลวง ชั้นโท
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดพระธาตุศรีจอมทอง
จ.เชียงใหม่
พระอารามหลวง ชั้นตรี
วัดท่าตอน จ.เชียงใหม่
วัดท่าตอน
จ.เชียงใหม่
พระอารามหลวง ชั้นตรี
วัดพระแก้ว จ.เชียงราย
วัดพระแก้ว
จ.เชียงราย
พระอารามหลวง ชั้นตรี
วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม
วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม
จ.ลำปาง
พระอารามหลวง ชั้นตรี
วัดพระเจดีย์ซาวหลัง
วัดพระเจดีย์ซาวหลัง
จ.ลำปาง
พระอารามหลวง ชั้นตรี
วัดท่าหลวง
วัดท่าหลวง
อ.เมือง จ.พิจิตร
พระอารามหลวง ชั้นตรี
วัดนาควัชรโสภณ
วัดนาควัชรโสภณ
อ.เมือง จ.กำแพงเพชร
พระอารามหลวง ชั้นตรี
วัดจองกลาง-จองคำ
วัดจองกลาง-วัดจองคำ
อ.เมือง จ.แม่ฮ่องสอน
โบราณสถานคู่เมืองแม่ฮ่องสอน
วัดร่องขุ่น
วัดร่องขุ่น
จ.เชียงราย
วัดราษฏร์
วัดโพธิ์ประทับช้าง
วัดโพธิ์ประทับช้าง
อ.โพธิ์ประทับช้าง จ.พิจิตร
วัดเก่าแก่สมัยอยุธยา
วัดพระธาตุลำปางหลวง
วัดพระธาตุลำปางหลวง
อ.เกาะคา จ.ลำปาง
โบราณสถานคู่เมืองลำปาง
วัดพระธาตุแช่แห้ง
วัดพระธาตุแช่แห้ง
จ.น่าน
พระบรมธาตุแช่แห้ง
วัดพระแท่นศิลาอาสน์
วัดพระแท่นศิลาอาสน์
อ.ลับแล จ.อุตรดิตถ์
พระแท่นศิลาอาสน์
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดคีรีวงศ์
จ.นครสวรรค์
วัดราษฏร์
คลิ๊กอ่านรายละเอียด
วัดเจดีย์หลวง วรวิหาร (ธ)
จ.เชียงใหม่
พระอารามหลวง ชั้นตรี
 
    ภาคตะวันออก
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดญาณสังวราราม
จ.ชลบุรี
พระอารามหลวง ชั้นเอก
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดเขาสุกิม
จ.จันทบุรี
ศูนย์ปฏิบัติธรรมสายวิปัสสนา
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดหนองสนม
อ.เมือง จ.ระยอง
ศูนยเผยแผ่พระพุทธศานาจังหวัดระยอง
    ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดพระธาตุพนม
จ.นครพนม
พระอารามหลวง ชั้นเอก
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดเทพพิทักษ์ปุณณาราม
จ.นครราชสีมา
พระพุทธสกลสีมามงคล
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดกลางมิ่งเมือง
จ.ร้อยเอ็ด
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดพระนารายณ์มหาราช
จ.นครราชสีมา
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดบึง
จ.นครราชสีมา
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดหนองป่าพง
จ.อุบลราชธานี
วัดป่า สายปฏิบัติธรรม หลวงปู่ชา
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดเขาพระอังคาร
จ.บุรีรัมย์
โบราณสถานเก่าแก่
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดกลางกาฬสินธุ์
จ.กาฬสินธุ์
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดหินหมากเป้ง
จ.หนองคาย
หลวงปู่เทสก์ เทสรังสี
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดทุ่งศรีเมือง
จ.อุบลราชธานี
วัดเก่าแก่
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดเจติยาคิรีวิหาร (วัดภูทอก)
อ.ศรีวิไล จ.หนองคาย
พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดป่าภูก้อน
อ.นายูง จ.อุดรธานี
พุทธอุทยานมหารุกขปาริชาติ
    ภาคใต้
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดพระมหาธาตุ
จ.นครศรีธรรมราช
พระอารามหลวง ชั้นเอก
วัดพระบรมธาตุไชยา
จ.สุราษฎร์ธานี
พระอารามหลวง ชั้นเอก
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดราษฎร์บูรณะ (วัดช้างให้)
จ.ปัตตานี
หลวงปู่ทวด วัดช้างให้
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดชลธาราสิงเห
จ.นราธิวาส
วัดพิทักษ์แผ่นดินไทย
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดมัชฌิมาวาส
จ.สงขลา
พระอารามหลวง ชั้นตรี
คลิ๊กดูรายละเอียด
สวนโมกขพลาราม
จ.สุราษฎร์ธานี
สำนักปฏิบัติธรรม
โดยท่านพุทธทาส ภิกขุ
คลิ๊กดูรายละเอียด
วัดถ้ำขวัญเมือง
จ.ชุมพร
สำนักปฏิบัติธรรมประจำจังหวัด